หน้าหลักของ WhatsAppหน้าหลักของ WhatsAppศูนย์ช่วยเหลือ
WHATSAPP WEB
ฟีเจอร์
ดาวน์โหลด
ความปลอดภัย
ศูนย์ช่วยเหลือ

เลือกภาษาของคุณ

  • azərbaycan

  • Afrikaans

  • Bahasa Indonesia

  • Melayu

  • català

  • čeština

  • dansk

  • Deutsch

  • eesti

  • English

  • español

  • français

  • Gaeilge

  • hrvatski

  • italiano

  • Kiswahili

  • latviešu

  • lietuvių

  • magyar

  • Nederlands

  • norsk bokmål

  • o‘zbek

  • Filipino

  • polski

  • Português (Brasil)

  • Português (Portugal)

  • română

  • shqip

  • slovenčina

  • slovenščina

  • suomi

  • svenska

  • Tiếng Việt

  • Türkçe

  • Ελληνικά

  • български

  • қазақ тілі

  • македонски

  • русский

  • српски

  • українська

  • עברית

  • العربية

  • فارسی

  • اردو

  • বাংলা

  • हिन्दी

  • ગુજરાતી

  • ಕನ್ನಡ

  • मराठी

  • ਪੰਜਾਬੀ

  • தமிழ்

  • తెలుగు

  • മലയാളം

  • ไทย

  • 简体中文

  • 繁體中文(台灣)

  • 繁體中文(香港)

  • 日本語

  • 한국어

  • ดาวน์โหลด

  • ฟีเจอร์

  • ความปลอดภัย

  • ศูนย์ช่วยเหลือ

  • ติดต่อเรา

เราจะช่วยคุณได้อย่างไร?

นอกจากนี้คุณยังสามารถเรียกดูหัวข้อด้านล่างนี้เพื่อค้นหาสิ่งที่คุณกำลังมองหา
  1. ทั่วไป
  2. ความปลอดภัยและความเป็นส่วนตัว

วิธีป้องกันการเผยแพร่การให้ข้อมูลผิด

เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับป้ายข้อความส่งต่อ

ข้อความที่มีป้าย “ข้อความส่งต่อ” ช่วยให้คุณระบุได้ว่าเพื่อนหรือสมาชิกครอบครัวของคุณเขียนข้อความนั้น หรือเป็นข้อความที่มาจากบุคคลอื่น เมื่อมีการส่งต่อข้อความผ่านแชทแบบลูกโซ่ตั้งแต่ 5 แชทขึ้นไป ซึ่งหมายความว่ามีการส่งต่ออย่างน้อย 5 ครั้งจากผู้ส่งเดิม ระบบจะแสดงไอคอนลูกศรคู่ และป้าย “ถูกส่งต่อหลายครั้ง” ตรวจสอบข้อมูลที่ได้รับอีกครั้งหากคุณไม่แน่ใจว่าใครเขียนข้อความต้นฉบับ หากต้องการเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับขีดจำกัดการส่งต่อ โปรดดูบทความนี้

ตรวจสอบความเอนเอียง (Bias) ของคุณ

คอยระวังข้อมูลที่ยืนยันความเชื่อที่คุณมีอยู่แล้ว รวมทั้งตรวจสอบข้อเท็จจริงด้วยตนเองก่อนที่จะแชร์ข้อมูล เรื่องราวที่ไม่น่าเชื่อมักจะไม่เป็นจริง

ตรวจสอบข้อเท็จจริงของข้อมูลเทียบกับแหล่งข้อมูลอื่นๆ

ข่าวปลอมมักจะได้รับความนิยมแบบไวรัล และอาจมีการแก้ไขรูปภาพ การบันทึกเสียง และวิดีโอเพื่อทำให้คุณเข้าใจผิดได้ ข้อความที่ถูกแชร์หลายๆ ครั้งไม่ได้หมายความว่าจะเป็นเรื่องจริง หากคุณได้รับข้อความที่เป็นเท็จ ให้แจ้งผู้ส่งที่ส่งข้อมูลที่ไม่ถูกต้องแก่คุณและแนะนำให้ผู้ส่งตรวจสอบข้อความก่อนแชร์

หากไม่แน่ใจว่าเป็นข้อความจริงหรือไม่ เราขอแนะนำให้ตรวจสอบเว็บไซต์ข่าวที่เชื่อถือได้เพื่อดูแหล่งที่มาของเรื่องราว เมื่อมีการรายงานเรื่องราวในหลายๆ แห่งและจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ ข้อมูลดังกล่าวก็มีแนวโน้มที่จะเป็นเรื่องจริง คุณสามารถปรึกษาองค์กรตรวจสอบข้อเท็จจริงหรือผู้คนที่คุณเชื่อถือเพื่อรับข้อมูลเพิ่มเติมได้ สำหรับรายชื่อองค์กรตรวจสอบข้อเท็จจริงที่เป็นสมาชิกของเครือข่ายการตรวจสอบข้อเท็จจริงระดับนานาชาติ โปรดดูบทความนี้

หากมีผู้ติดต่อส่งข่าวปลอมอย่างต่อเนื่อง ให้รายงานบุคคลเหล่านั้น หากต้องการเรียนรู้วิธีรายงานข้อความ ผู้ติดต่อ หรือกลุ่ม โปรดอ่านบทความนี้

คอยระวังข้อความที่ดูแตกต่าง

ข้อความและลิงก์ไม่พึงประสงค์จำนวนมากที่คุณอาจได้รับจะมีการสะกดผิดๆ หรือมีข้อผิดพลาดทางไวยากรณ์ หรือขอให้คุณแชร์ข้อมูลส่วนบุคคล หากต้องการเรียนรู้วิธีระบุและจัดการข้อความประเภทนี้ โปรดอ่านบทความนี้

หมายเหตุ: หากคุณรู้สึกว่าคุณหรือบุคคลอื่นตกอยู่ในอันตรายทางอารมณ์หรือทางกายภาพ โปรดติดต่อหน่วยงานบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่ของคุณ หน่วยงานบังคับใช้กฎหมายในพื้นที่จะพร้อมให้ความช่วยเหลือสำหรับกรณีเหล่านี้

แหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง:

  • องค์กรตรวจสอบข้อเท็จจริง IFCN บน WhatsApp
  • วิธีใช้ WhatsApp อย่างมีความรับผิดชอบ
  • เกี่ยวกับขีดจำกัดการส่งต่อ
  • เกี่ยวกับสแปมและข้อความไม่พึงประสงค์
บทความนี้มีประโยชน์หรือไม่
มีไม่มี
เพราะเหตุใดบทความนี้จึงไม่มีประโยชน์
  • บทความนี้ทำให้สับสน
  • บทความนี้ไม่ได้ตอบคำถามของฉัน
  • วิธีแก้ปัญหาไม่ได้ผล
  • ฉันไม่ชอบฟีเจอร์หรือนโยบาย
ขอขอบคุณสำหรับความคิดเห็น
ศูนย์ช่วยเหลือ

WHATSAPP

ฟีเจอร์

ความปลอดภัย

ดาวน์โหลด

WhatsApp Web

ธุรกิจ

ความเป็นส่วนตัว

บริษัท

เกี่ยวกับ

ตำแหน่งงาน

ศูนย์แบรนด์

ติดต่อเรา

บล็อก

เรื่องราวบน WhatsApp

ดาวน์โหลด

Mac/PC

Android

iPhone

ความช่วยเหลือ

ศูนย์ช่วยเหลือ

Twitter

Facebook

ไวรัสโคโรนา

2022 © WhatsApp LLC

ความเป็นส่วนตัวและข้อกำหนด